รวมหนังทุกตอน
Journey to Royal: A WWII Rescue Mission (2021) กู้ภัยนรก สงครามโลก
ตัวอย่าง Journey to Royal: A WWII Rescue Mission (2021) กู้ภัยนรก สงครามโลก
ดูหนัง 2021
ดูหนัง Documentary สารคดี
ดูหนัง History หนังประวัติศาสตร์
ดูหนัง War สงคราม
ดูหนัง หนัง Soundtrack
ดูหนัง หนังฝรั่ง
ดูหนัง Journey to Royal: A WWII Rescue Mission (2021) กู้ภัยนรก สงครามโลก
สงครามโลกครั้งที่สอง (อังกฤษ: World War II หรือ Second World War; มักย่อเป็น WWII หรือ WW2) เป็นสงครามทั่วโลกกินเวลาตั้งแต่ปี 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งรัฐมหาอำนาจทั้งหมด แบ่งเป็นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ เป็นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง sหนังออนไล สงครามนี้มีลักษณะเป็น “สงครามเบ็ดเสร็จ” คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ทั้งหมดเพื่อความพยายามของสงคราม โดยลบเส้นแบ่งระหว่างทรัพยากรของพลเรือนและทหาร ประเมินกันว่าสงครามมีมูลค่าราว 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตระหว่าง 50 ถึง 85 ล้านคน ด้วยประการทั้งปวง สงครามโลกครั้งที่สองจึงนับว่าเป็นสงครามขนาดใหญ่ที่สุด ใช้เงินทุนมากที่สุด และมีผู้เสียชีวิตสูงสุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ
จักรวรรดิญี่ปุ่นซึ่งมีเป้าหมายครอบงำทวีปเอเชียและแปซิฟิกและทำสงครามกับจีนมาตั้งแต่ปี 1937 แล้ว แต่โดยทั่วไปถือว่าสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มตั้งแต่การบุกครองโปแลนด์ของเยอรมนีในวันที่ 1 กันยายน 1939 นำไปสู่การประกาศสงครามต่อเยอรมนีของประเทศฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปลายปี 1939 ถึงต้นปี 1941 ในการทัพและสนธิสัญญาต่าง ๆ ประเทศเยอรมนีพิชิตหรือควบคุมยุโรปภาคพื้นทวีปได้ส่วนใหญ่ และตั้งพันธมิตรอักษะกับอิตาลีและญี่ปุ่น ภายใต้สนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพเมื่อเดือนสิงหาคม 1939
เยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแลผนวกดินแดนประเทศเพื่อนบ้านยุโรปของตน ได้แก่ โปแลนด์ ฟินแลนด์ โรมาเนียและรัฐบอลติก สงครามดำเนินต่อส่วนใหญ่ระหว่างชาติฝ่ายอักษะยุโรปและแนวร่วมสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพบริติช โดยมีการทัพอย่างการทัพแอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันออก ยุทธการที่บริเตนซึ่งเป็นการสู้รบทางอากาศ การทัพทิ้งระเบิดเดอะบลิตซ์ การทัพบอลข่าน ตลอดจนยุทธการที่แอตแลนติกที่ยืดเยื้อ ในเดือนมิถุนายน 1941 ชาติอักษะยุโรปบุกครองสหภาพโซเวียต เปิดฉากเขตสงครามภาคพื้นดินที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้กำลังทหารสำคัญของฝ่ายอักษะตกอยู่ในสงครามบั่นทอนกำลัง ในเดือนธันวาคม 1941 ญี่ปุ่นโจมตีสหรัฐและอาณานิคมยุโรปในมหาสมุทรแปซิฟิก และพิชิตมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกส่วนมากได้อย่างรวดเร็ว
การรุกของฝ่ายอักษะยุติลงในปี 1942 หลังญี่ปุ่นปราชัยในยุทธนาวีที่มิดเวย์ใกล้กับฮาวายที่สำคัญ และเยอรมนีปราชัยในแอฟริกาเหนือและจากนั้นที่สตาลินกราดในสหภาพโซเวียต ในปี 1943 จากความปราชัยของเยอรมนีติด ๆ กันที่เคิสก์ในยุโรปตะวันออก การบุกครองอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนำให้อิตาลียอมจำนน จนถึงชัยของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ฝ่ายอักษะเสียการริเริ่มและต้องล่าถอยทางยุทธศาสตร์ในทุกแนวรบ ในปี 1944 ฝ่ายสัมพันธมิตรบุกครองฝรั่งเศสในการยึดครองของเยอรมนี ขณะเดียวกันกับที่สหภาพโซเวียตยึดดินแดนที่เสียไปทั้งหมดคืนและบุกครองเยอรมนีและพันธมิตร ระหว่างปี 1944 และ 1945 ญี่ปุ่นปราชัยสำคัญในทวีปเอเชียในภาคกลางและภาคใต้ของจีนและพม่า ขณะที่ฝ่ายสัมพันธมิตรก่อความเสียหายต่อกองทัพเรือญี่ปุ่นและยึดหมู่เกาะแปซิฟิกตะวันตกที่สำคัญ
สงครามในยุโรปยุติลงหลังกองทัพแดงยึดกรุงเบอร์ลินได้ และการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของเยอรมนีเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1945 แม้จะถูกโดดเดี่ยวและตกอยู่ในสภาพเสียเปรียบอย่างยิ่ง ญี่ปุ่นยังปฏิเสธที่จะยอมจำนน กระทั่งมีการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์สองลูกถล่มญี่ปุ่น และการบุกครองแมนจูเรีย จึงได้นำไปสู่การยอมจำนนอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 1945
สงครามยุติลงด้วยชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร ผลของสงครามได้เปลี่ยนแปลงการวางแนวทางการเมืองและโครงสร้างสังคมของโลก สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งในอนาคต สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตก้าวเป็นอภิมหาอำนาจของโลกอันเป็นคู่ปรปักษ์กัน นำไปสู่ความขัดแย้งบนเวทีแห่งสงครามเย็น ซึ่งได้ดำเนินต่อมาอีก 46 ปีหลังสงคราม ขณะเดียวกัน การยอมรับหลักการการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง เร่งให้เกิดการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องเอกราชในทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา พร้อม ๆ กับที่หลายประเทศได้มุ่งหน้าฟื้นฟูเศรษฐกิจซึ่งอุตสาหกรรมได้รับความเสียหายระหว่างสงคราม และบูรณาการทางการเมืองได้เกิดขึ้นทั่วโลกในความพยายามที่จะรักษาเสถียรภาพความสัมพันธ์หลังสงคราม
WWII hero with the 4th Emergency Rescue Squadron, Lt. Royal Stratton, leads a deadly mission to save the lives of nine downed airmen adrift in enemy waters of a war-torn South Pacific. Immersive cinematography and gripping action, mixed with firsthand accounts and historical images, showcase the valor of this squadron who faced overwhelming odds to bring their brothers home.
วีรบุรุษแห่งสงครามโลกครั้งที่ 2 กับหน่วยกู้ภัยฉุกเฉินที่ 4 ร.ท. รอยัล สแตรทตัน นำภารกิจสุดอันตรายเพื่อช่วยชีวิตนักบิน 9 นายที่ลอยอยู่ในน่านน้ำของศัตรูในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ที่เสียหายจากสงคราม การถ่ายภาพยนตร์ที่สมจริงและแอ็คชั่นจับใจ ผสมผสานกับเรื่องราวโดยตรงและภาพประวัติศาสตร์ แสดงให้เห็นถึงความกล้าหาญของฝูงบินนี้ที่ต้องเผชิญกับโอกาสอย่างท่วมท้นเพื่อนำพี่น้องของพวกเขากลับบ้าน
This documentary/feature hybrid directed by Christopher Johnson and produced by Mariana Tosca, p.g.a is a remarkable and effective piece of documentary filmmaking that chronicles the incredible stories of rescue teams during World War 2. What impressed me so much about the film is that it tells the tales of daring and courageous rescue missions rather than the pervasive violence we have all become far too familiarized and inundated with over the years between the content we consume, and all that is presented to us.
ภาพยนตร์ลูกผสมที่กำกับโดยคริสโตเฟอร์ จอห์นสัน และโปรดิวซ์โดยมาเรียนา ทอสกา พีจีเอคือผลงานการสร้างภาพยนตร์สารคดีที่โดดเด่นและมีประสิทธิภาพ ซึ่งบันทึกเรื่องราวอันน่าทึ่งของทีมกู้ภัยในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ่งที่ทำให้ฉันประทับใจมากเกี่ยวกับภาพยนตร์เรื่องนี้ก็คือการเล่าเรื่องของ ภารกิจกู้ภัยที่กล้าหาญและกล้าหาญมากกว่าความรุนแรงที่แพร่หลายที่เราคุ้นเคยและท่วมท้นในช่วงหลายปีที่ผ่านมาระหว่างเนื้อหาที่เราบริโภคกับทั้งหมดที่นำเสนอต่อเรา
These are stories that absolutely needed to be told and I’m glad that this production team behind this project decided to tell them instead of WWII stories that are commonplace.
There are plenty of stories like the ones highlighted in the documentary film, but I think it’s brave to dare to be different as far as the stories that are typically told, rather than the ones that need to be told. That being said, let’s dive into the nitty gritty of the documentary feature hybrid.
เรื่องราวเหล่านี้เป็นเรื่องราวที่จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องบอกเล่า และฉันดีใจที่ทีมผู้ผลิตที่อยู่เบื้องหลังโปรเจ็กต์นี้ตัดสินใจบอกพวกเขาแทนเรื่องราวสงครามโลกครั้งที่สองที่เป็นเรื่องธรรมดา มีเรื่องราวมากมายเหมือนที่เน้นในภาพยนตร์สารคดี แต่ฉันคิดว่ามันกล้าที่จะกล้าที่จะแตกต่างออกไปเท่าเรื่องราวที่มักจะเล่า มากกว่าเรื่องที่จำเป็นต้องเล่า อย่างที่กล่าวไปแล้ว มาดำดิ่งในสาระ ดูหนัง 2021 สำคัญของสารคดีไฮบริดกัน
คงไม่มีเหตุการณ์ไหนจะรุนแรงไปกว่าการที่มนุษย์เข่นฆ่ากันเองอีกต่อไปแล้ว แต่ถึงอย่างไรเรื่องราวน่าสยองเหล่านี้กลับอยู่คู่กันมากับประวัติศาสตร์มนุษยชาติมาแต่ไหนแต่ไร ทั้งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ สังหารหมู่ ความอดอยาก ฯลฯ บางเรื่องก็ยากที่จะยอมรับ บางเรื่องเป็นที่รับรู้กันทั่วไปแต่ผู้คนในยุคนั้นก็เลือกที่จะไม่พูดถึงมันอีก เก็บไว้เพียงความทรงจำอันเลวร้าย ที่หวังว่าจะไม่เกิดขึ้นอีกในอนาคต และต่อไปนี้คือ 9 เหตุการณ์นองเลือดที่เคยเกิดขึ้นจริงในหน้าประวัติศาสตร์ของโลกใบนี้ ที่ทางเรามิได้มีเจตนาจะรื้อฟื้นเรื่องราวความขัดแย้งในอดีตขึ้นมา เพียงแค่ต้องการให้เป็นเครื่องเตือนใจ ว่าความรุนแรงนั้นไม่เคยส่งผลดีต่อผู้ใดเลย
หากพูดถึงเหตุการณ์ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ที่โหดร้ายที่สุด มีจำนวนผู้เสียชีวิตสูงมากที่สุดในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ทุกคนล้วนนึกถึงเหตุการณ์การล้างชาติโดยนาซี (The Holocaust) ที่ทำการสร้างค่ายเพื่อจุดประสงค์ในการสังหารประชากรจำนวนมากลงเพียงอย่างเดียว อันได้แก่ ชาวยิวในทวีปยุโรป ชาวโปล ชาวยิปซี และชาติอื่น ๆ ทั้งนี้ยังรวมถึงเชลยศึกชาวโซเวียตด้วย นักโทษจำนวนหลายล้านคนเสียชีวิตในค่ายกักกันทั้งจากการใช้แรงงานหนัก โรคระบาด ความหนาว อดอาหาร ถูกกระทำทารุณ ถูกนำไปทดลองทางวิทยาศาสตร์โดยไม่คำนึงถึงมนุษยธรรม
และเรื่องที่โหดร้ายมากที่สุดก็คือการประหารนักโทษด้วยการเข้า “ห้องรมแก๊ส” เพื่อเป็นการปร ะหารให้ได้ ครั้งละจำนวนมากที่สุดเท่าที่จะมากได้โดยไม่ต้องเปลืองกระสุนปืน (ห้องรมแก๊สหนึ่งห้องสามารถจุคนได้ถึง 2,000 ค น) โดยจะเริ่มตั้งแต่การขนส่งนักโทษโดยรถรางบรรทุก อัดแน่นกันอยู่จนกว่าจะถึงที่หมายนานนับสัปดาห์โดยไม่มีน้ำหรืออาหาร หรือถ้ามีก็น้อยมาก ชาวยิวที่รอดมาได้ส่วนใหญ่จะไม่รู้ว่าเมื่อม าถึงที่นี่จะต้องเจอกับอะไร หลังจากทำการคัดเลือกนักโทษที่พอจะทำงานได้แล้ว ก็จะแจ้งแก่คนที่ไม่ต้องการแล้วว่าจะพาไปอาบน้ำ แต่จริงๆ คือพาไปสู่ห้องรมแก๊สนั่นเอง
ปัจจุบัน ค่ายกักกันเอาชวิทซ์-เบียร์เคเนา (Auschwitz-Birkenau) เป็นค่ายที่มีผู้เข้าชมมากที่สุดในโปแลนด์ และได้รับการประกาศให้เป็นมรดกโลกด้านวัฒนธรรมของโปแลนด์เพื่อเป็นเครื่องเตือนใจแก่คนรุ่นหลังถึงความโหดร้ายของสงคราม
คำว่า Holodomor แปลว่า การเข่นฆ่าด้วยความอดอยากหิวโหย หรือการปล่อยให้อดอยาก หิวโหยจนถึงแก่ความตาย เหตุการณ์ครั้งนี้เริ่มมาจากนโยบายด้านเศรษฐกิจรวมศูนย์ ที่ผลผลิตทางการเกษตรถูกยึดเป็นของส่วนรวม ซึ่งเรียกเอาผลผลิตปริมาณสูง ชายนาถูกบังคับขายผลผลิตในราคาถูก และถูกสั่งห้ามไม่ให้กินผลผลิตของพวกเขาเองอีกด้วย จนกระทั่งเกิดภาวะความอดอยากที่ร้ายแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ มีผู้เสียชีวิตกว่า 10 ล้านคน
แรกเริ่ม ผู้คนเริ่มกินสุนัข แมว กบ หนู วัชพืช หญ้า หรือทุกอย่างที่สามารถหาได้ สุดท้ายก็คือการกินเนื้อคนด้วยกันเอง มีการฆ่าคนในครอบครัวตัวเองมาทำอาหาร หรือแม้แต่กินร่างของเด็กที่ตายไปแล้วด้วยความอดอยาก เฉพาะในเดือนมิ.ย. 1933 มีผู้เสียชีวิต 34,500 คนในทุกๆ วัน 15,000 คนทุกชั่วโมง และ 24 คนทุกนาที
จุดเริ่มต้นจากการปกครองเผด็จการแบบเบ็ดเสร็จในรัฐบาลของ นายพล ลอน นอล ซึ่งทำการรัฐประหารยึดอำนาจมาจากสมเด็จเจ้านโรดมสีหนุ ประชาชนชาวกัมพูชาจึงต้องหลบหนีไปเข้าร่วมกับฝ่ายคอมมิวนิสต์ หรือเขมรแดง ที่นำโดย นายพล พต ที่ต่อมาสามารถโค่นล้มอำนาจของนายพล ลอน นอลได้ในที่สุด และได้เริ่มแผนสังหารหมู่ขึ้นที่โตสะแลง (Tuol Sleng) สถานที่จองจำและทรมานนักโทษชาวกัมพูชา ก่อนจะถูกพามายัง ทุ่งสังหารเพื่อฆ่าและฝังกลบในคราวเดียว
เริ่มแรก ผู้นำของเขมรแดงจะพาชาวเมืองอพยพเพื่อเดินทางไปสู่ “อนาคตของประเทศ” โดยบอกกับประชาชนชาวเมืองว่า ทั้งหมดเป็นการหนีภัยจากสหรัฐอเมริกาที่จะเข้ามาทิ้งระเบิด หลังจากนั้นก็จะคัดแยกประชาชนที่มีความรู้ อ่านออกเขียนได้ไปทำการ “สอบสวน” ที่โตสะแลง ส่วนประชาชนทั่วไปก็จะถูกบังคับใช้แรงงาน หากขัดขืนมีแต่โทษตายเท่านั้นที่รออยู่
เหตุการณ์กองทัพออตโตมัน ฆ่าหมู่ชาวอาร์เมเนีย 1.5 ล้านคนในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 และผู้คนอีกจำนวนมากที่ถูกขับไล่ให้เดินหน้าไปตายในทะเลทราย Syrian
เป็นการสังหารหมู่พันธุฆาตชาวทุตซี (Tutsi) และฮูตู (Hutu) สายกลางในประเทศรวันดา โดยสมาชิกรัฐบาลฝ่ายข้างมากฮูตู โดยมีเป้าหมายหลักคือผู้ชายทุกวัย ด้วยข้ออ้างที่ว่า คนเหล่านี้อาจเข้าร่วมกับพวกกบฏ RPF
หรือไม่ก็เป็นไปแนวร่วม ส่วนหญิงสาวชาวทุตซีถูกจับมาข่มขืนและสังหารทิ้งอย่างเหี้ยมโหด ประเทศอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องก็ช่วยเหลือได้เพียงการอพยพคนของตนออกมาเท่านั้น และกองกำลังสหประชาชาติก็ไม่ได้กระทำการใดๆ เพื่อยุติเหตุรุนแรงเลย
ตลอดระยะเวลาหนึ่งร้อยวันที่เกิดเรื่อง ประมาณการว่ามีชาวรวันดาเสียชีวิตราว 800,000 – 1,070,000 คน กลายเป็นหนึ่งในโศกนาฏกรรมครั้งสำคัญของมนุษยชาติ
เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นที่แนวรบด้านตะวันออกของสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อกองทัพนาซีทำการปิดล้อมเมืองเลนินกราด (ปัจจุบันคือเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก) พลเมืองก็ได้สร้างกำแพงเพื่อไม่ให้นาซีบุกเข้ามาได้ กลายเป็นการปิดเมืองที่คนในก็ไม่ได้ออก
ชาวเมืองต้องอยู่โดยขาดแคลนอาหาร น้ำดื่ม จนต้องเริ่มหันมากินเนื้อคนเพื่อเอาชีวิตรอด แม้แต่ตำรวจก็ไม่สามารถควบคุมสถานการณ์ได้ เด็กทุกคนต้องหลบอยู่แต่ในบ้าน เพราะมักตกเป็นเหยื่อถูกฆ่า และถูกกินเป็นอันดับแรก
ประเทศจีนต้องพบกับภาวะอดอยากครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศ ช่วงยุคประธานเหมา เจ๋อตง เนื่องจากภัยแล้ง และการเร่งพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศ เปลี่ยนการเกษตรมาสู่อุตสาหกรรมแบบก้าวกระโดด
ประกาศใช้ระบบนารวม ชาวไร่ชาวนาไม่มีสิทธิครอบครองที่ดิน หรือซื้อขายผลผลิต ผลผลิตที่ได้ต้องนำเข้าส่วนกลางถึงหนึ่งในสามของผลผลิตทั้งหมด และอีกหนึ่งส่วนยังต้องเป็นสวัสดิการสังคมที่รัฐจะดูแลประโยชน์ต่างๆ เช่น การพยาบาล
การศึกษา เป็นต้น เปิดช่องให้เกิดการทุจริตของเจ้าหน้าที่พรรคที่ควบคุมระบบนารวมในแต่ละเขต
เมื่อประชาชนอดอยาก ข้าวยากหมากแพง จึงต้องเริ่มกินเนื้อคนอย่างช่วยไม่ได้ อาหารที่ทำจากเนื้อคนกลายเป็นสินค้าที่วางขายในตลาด บางครอบครัวก็แลกเปลี่ยนลูกกันเพื่อไม่ให้รู้สึกผิดจากการกินลูกของตนเอง
กลายเป็นความอดอยากที่เลวร้ายที่สุดในประวัติศาสตร์จีน บันทึกอย่างเป็นทางการระบุว่ามีผู้เสียชีวิตราว 45 ล้านคน
Tags : Journey to Royal: A WWII Rescue Mission Journey to Royal: A WWII Rescue Mission กู้ภัยนรก สงครามโลก กู้ภัยนรก สงครามโลก